วันจันทร์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่3

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3

วันจันทร์ ที่25มกราคม 2559

(เวลา 12.30-14.30 )



ความรู้ที่ได้รับ

สอนทฤษฎี การเรียนการสอน เรื่องการจัดประสบการณ์ ประสบการณ์เคลื่อนไหวสำหรับเด็กปฐมวัย

1การเคลื่อนไหวเกี่ยวกับร่างกาย
การเคลื่อไหวพื้นฐาน
การเดิน วิ่ง คลาน

2การเคลื่อนไหวที่เกี่ยวข้องกับวัตถุ
เคลื่อนที่นิ่ง
การหยุด

แนวทางการประเมิน

การเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ
ทำท่าแปลกใหม่
การแสดงออก

การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
สามารถนำไปใช้กับเด็กและการออกกำลังกาย
สามารถสังเกตพฤติกรรมด้านร่างกาย

ประเมินตนเอง
ตั้งใจฟัง และพร้อมเรียน

ประเมินเพื่อน
เพื่อนดูตั้งใจเรียน และจดกับการเรียนของอาจารย์

ประเมินอาจารย์
เตรียมการเรียนการสอนอย่างดี ช่วยแนะนำในสิ่งที่เราขาดหาย



วันเสาร์ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 2

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 2

วันจันทร์ ที่ 18 มกราคม 2559

(เวลา 12.30-14.30 )

วันพฤหัสบดี ที่ 21 มกราคม2559

 (เวลา 14.30-17.30)




ความรู้ที่ได้รับ

๐ความหมายและความสำคัญของกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
 สัญญาณหรือสัญลักษณ์ ที่ใช้กำหนดความช้าความเร็วของการเคลื่อนไหวมีดังนี้
1. เสียงจากคน เช่น การนับ การออกเสียงคำ
2. เสียงจากเครื่องดนตรี เช่น การเคาะ ตีเครื่องดนตรี ที่ทำจากไม้ เหล็ก หนัง
3. การตบมือ หรือดีดนิ้ว เป็นจังหวะ
 ความเป็นมาของการเคลื่อนไหวและจังหวะ

  ความสำคัญของการเคลื่อนไหวและจังหวะ

การเคลื่อนไหวพื้นฐาน
2 ประเภท คือ
1. การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ ได้แก่ การเคลื่อนไหวส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย ณ
   จุดใดจุดหนึ่ง โดย ร่างกายจะไม่เคลื่อนออกไปจากจุดนั้นเลย
2. การเคลื่อนไหวที่เคลื่อนที่ ได้แก่ การเคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง ได้แก่ การเดิน การวิ่ง การ กระโดด ฯลฯ

องค์ประกอบของการเคลื่อนไหวและจังหวะ
พัฒนาการด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว
 พัฒนาการด้านกล้ามเนื้อใหญ่
 หลักการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ
  เนื้อหาการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ
การเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
การเคลื่อนไหวประกอบจังหวะและดนตรี
การฝึกการเป็นผู้นำและผู้ตาม
การฝึกความจำ
การเคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์ / ประกอบเพลง
การเคลื่อนไหวตามจังหวะและสัญญาณ
การฟังและปฏิบัติตามคำสั่ง / คำบรรยาย

จุดประสงค์การจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ
เพื่อให้เด็กได้ออกกำลังกาย
พัฒนาอวัยวะทุกส่วนของร่างกายให้ได้เคลื่อนไหวอย่างสัมพันธ์กัน
เพื่อฝึกการฟังและปฏิบัติตามคำสั่ง
เพื่อฝึกการเป็นผู้นำและผู้ตาม พัฒนาทักษะด้านสังคม การปรับตัว และความร่วมมือในกลุ่ม
เพื่อส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
พัฒนาภาษา ฝึกฟังคำสั่งข้อตกลง และปฏิบัติตามได้ฝึกระเบียบวินัย / เรียนรู้จังหวะ / ความกล้า / ความจำ
เพื่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน

บทบาทครูในการจัดกิจกรรม
-—สนับสนุนให้เด็กมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
-—ครูควรสร้างบรรยากาศสร้างให้เด็กมีความมั่นใจ  ความกล้า
-—ไม่ควรชี้แนะเด็กในเรื่องความคิดมากเกินไป แต่ควรพูดในเชิงเสนอแนะ เมื่อเด็กบางคยัง
คิด   ไม่ออก
-—จัดกิจกรรมวันละไม่น้อยกว่า 15-20 นาที
-—ก่อนกิจกรรมเสร็จสิ้น ให้เด็กพักผ่อนนิ่งๆอย่างน้อย   2 นาที
-ในระยะแรกให้เด็กออกมาร่วมกิจกรรมกลุ่มทีละไม่เกิน 10 คน แต่ในระยะต่อไป อาจเพิ่มจำนวนเด็กมากขึ้น
ครูอาจใช้การเคลื่อนไหวและจังหวะสัมพันธ์กับทักษะทางคณิตศาสตร์ เช่น เมื่อสั่ง
ให้“หยุด”เด็กต้องจับกลุ่มกัน 3 คน

แนวทางการประเมิน

1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย
2. สังเกตการทำท่าทางแปลกใหม่ ไม่ซ้ำกัน
3. สังเกตการทำท่าทางตามคำสั่งและข้อตกลง
4. สังเกตการแสดงออก
5. สังเกตความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรม



การเคลื่นไหวตามจังหวะ


การกลิ้งหมุนตัวตามที่สั่ง



การเคลื่อนไหวอยู่ากับที่โดยการชูแขนให้สุดและเขย่งเท้า




การเต้นเพลงที่ให้ไปหาเพลงมา

การโยกไปโยกมาอยู่กับที่






การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
  สามารถนำท่าไปสอนเด็กเต้น และออกกำลังกาย การนำท่าเคลื่อนไหวอยู่กับที่ให้เด็กได้ออกกำลังกาย และสามารถเล่นหรือถามเด็กๆให้ตอบคำถามได้

การประเมินผล

ประเมินตนเอง
 ตั้งใจเรียน กล้าแสดงออกมากขึ้น และสนุกกับการเรียน 
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆกล้า่แสดง และมีความสุขกับการเต้นของเพลงตัวเอง เพื่อนตั้งใจและเคลื่อนไหวได้ดี
ประเมินอาจารย์
เนื้อหาที่สอนสนุก และเคลื่อน และทำให้คิดตามอย่งเพลินเพลิด



วันศุกร์ที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1

วันพฤหัสบดี ที่ 14มกราคม 2559

 (เวลา 14.30-17.30)




ความรู้ที่ได้รับ

    วันได้ออกท่าบริหารสมองก่อนเรียน

1มือขวาจับก้ามแล้วหมุน และเปลี่ยนมือ

2 ชูนิ้วชี้และนิ้วกลางทั้งสองข้างเตะปลายคิ้วแลวหมุนเหมือนเข็มนาฬิกา

3 นวดหูบนลงล่าง

4 มือซ้ายจีบมือขวาเอลแล้วสลับกันไปมา

5 มือซ้ายชี้ไปทางมือขวา มือขาวชูขึ้นหนึ่งนิ้ว และทำสลับบับไปถึง 10

6 มือซ้ายกำแลทุบลงขาเบาๆ มือขวาแบมือขวาลูบขา ทำพร้อมกัน 

แล้วสลับขาง

และได้ออกกำลังกายที่ T26 




ท่าเต้น  T26














การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
  สามารถนำท่าไปสอนเด็กเต้น และออกกำลังกาย ให้เด็กเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน สนใจในการเรียนมากขึ้น


การประเมินผล

ประเมินตนเอง
ตั้งใจเรียน และสนุกไปกับการเรียน เวลาผ่านไปเร็วมาก ไม่ง่วง ผ่อนคลาย
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆดูมีความสุข สนุกสนาน และกล้าแสดงออกของแต่ละโจทย์ที่อาจารย์ให้ทำ ทุกคนทำได้ดีมาก

ประเมินอาจารย์
 อาจารย์ตั้งใจสอน และสอนสนุก